การศึกษาสมบัติในการฆ่าเชื้อแบคทีเรียและโครงสร้างของสารครอโคซินจากพลาสมาของจระเข้พันธุ์ไทย
สารประกอบที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียสกัดมาจากเลือดจระเข้น้ำจืดพันธุ์ไทยโดยวิธีปั่นแยกและการทำให้บริสุทธิ์ด้วยเทคนิคโครมาโตกราฟี ได้รับการตั้งชื่อว่า “ครอคโคซิน” ซึ่งสารที่ได้นี้สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียแซลโมเนลลาไทฟี่ และ แสตปฟิโลคอคคัสออเรียสได้ มีความคงตัวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และทนต่อน้ำย่อยโปรเนส ซึ่งเมื่อศึกษาโครงสร้างด้วยการใช้เทคนิคแมสเสปกโตรเมตรีพบว่า สารครอคโคซิน ประกอบด้วยประกอบด้วยหน่วยย่อย 94 และ 136 m/z และเมื่อนำเซลล์แบคทีเรียที่ถูกทำลายด้วยครอคโคซินมาศึกษาผ่านกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนพบว่า สารครอคโคซิน น่าจะผ่านเข้าสู่ไซโตพลาสซึม และทำลายเยื่อหุ้มเซลล์ของแบคทีเรีย ซึ่งการค้นพบนี้อาจนำไปสู่ความเข้าใจกลไกหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกันจระเข้ ที่สามารถต้านการติดเชื้อแบคทีเรียในน้ำได้
Isolation and characterisation of crocosin, an antibacterial compound from crocodile (Crocodylus siamensis) plasma
An antibacterial compound from crocodile blood was partially purified and functionally characterised. The freshwater crocodile (Crocodylus siamensis) plasma with antibacterial activity was partially purified by using a centrifugal concentrator and reverse phase high powered liquid chromatography, and designated as crocosin. Crocosin exhibits antibacterial activity toward Salmonella typhi and Staphylococcus aureus. Crocosin is thermostable and resistant to pronase digestion. The structure of Crocosin analyzed by mass spectrometry contains repeating units of 94 and 136 m/z. Scanning electron microscopy indicates that Crocosin probably penetrates progressively into cytoplasm space, perturbing and damaging bacterial membranes. Crocosin may provide an early defense mechanism toward bacterial infection in freshwater.
ที่มา: Sutthidech P. et al. 2010. Isolation and characterisation of Crocosin, an antibacterial compound from crocodile (Crocodylus siamensis) plasma. Anim Sci J. 2010; 81(3): 393-401.
แปลโดย: ดร.ธีรนันท์ เต็มศิริพงศ์
สารประกอบที่มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียสกัดมาจากเลือดจระเข้น้ำจืดพันธุ์ไทยโดยวิธีปั่นแยกและการทำให้บริสุทธิ์ด้วยเทคนิคโครมาโตกราฟี ได้รับการตั้งชื่อว่า “ครอคโคซิน” ซึ่งสารที่ได้นี้สามารถทำลายเชื้อแบคทีเรียแซลโมเนลลาไทฟี่ และ แสตปฟิโลคอคคัสออเรียสได้ มีความคงตัวต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ และทนต่อน้ำย่อยโปรเนส ซึ่งเมื่อศึกษาโครงสร้างด้วยการใช้เทคนิคแมสเสปกโตรเมตรีพบว่า สารครอคโคซิน ประกอบด้วยประกอบด้วยหน่วยย่อย 94 และ 136 m/z และเมื่อนำเซลล์แบคทีเรียที่ถูกทำลายด้วยครอคโคซินมาศึกษาผ่านกล้องจุลทรรศน์อิเลคตรอนพบว่า สารครอคโคซิน น่าจะผ่านเข้าสู่ไซโตพลาสซึม และทำลายเยื่อหุ้มเซลล์ของแบคทีเรีย ซึ่งการค้นพบนี้อาจนำไปสู่ความเข้าใจกลไกหนึ่งของระบบภูมิคุ้มกันจระเข้ ที่สามารถต้านการติดเชื้อแบคทีเรียในน้ำได้
Isolation and characterisation of crocosin, an antibacterial compound from crocodile (Crocodylus siamensis) plasma
An antibacterial compound from crocodile blood was partially purified and functionally characterised. The freshwater crocodile (Crocodylus siamensis) plasma with antibacterial activity was partially purified by using a centrifugal concentrator and reverse phase high powered liquid chromatography, and designated as crocosin. Crocosin exhibits antibacterial activity toward Salmonella typhi and Staphylococcus aureus. Crocosin is thermostable and resistant to pronase digestion. The structure of Crocosin analyzed by mass spectrometry contains repeating units of 94 and 136 m/z. Scanning electron microscopy indicates that Crocosin probably penetrates progressively into cytoplasm space, perturbing and damaging bacterial membranes. Crocosin may provide an early defense mechanism toward bacterial infection in freshwater.
ที่มา: Sutthidech P. et al. 2010. Isolation and characterisation of Crocosin, an antibacterial compound from crocodile (Crocodylus siamensis) plasma. Anim Sci J. 2010; 81(3): 393-401.
แปลโดย: ดร.ธีรนันท์ เต็มศิริพงศ์
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น