เซรุ่มจากจระเข้ (American Alligator) มีฤทธิ์ต้านไวรัสก่อโรคเอดส์ ไข้สมองอักเสบ และ เริม บางชนิด และพบว่าเซรุ่มที่ผ่านความร้อน 56 ◦C 30 นาที มีฤทธิ์ต้านไวรัสเอดส์ (HIV-1) ลดลง แต่ฤทธิ์ต้านเวสต์ไนล์ไวรัส (WNV) และ ไวรัสเริม (HSV-1) คงอยู่
ฤทธิ์ในการต้านไวรัสของเซรุ่มจากเลือดจระเข้สายพันธุ์อเมริกัน
บทคัดย่อ
การเก็บตัวอย่างเซรุ่มจระเข้สายพันธุ์อเมริกัน (American alligator) จากธรรมชาติมาทดสอบฤทธิ์ในการต้านไวรัส 3 ชนิดโดยใช้การทดสอบในเซลล์ และวัดค่าความเข้มข้นที่ออกฤทธิ์ (Inhibitory Concentration; IC) ซึ่งวัดจากปริมาณเซรุ่มที่สามารถยับยั้งการทำงานของไวรัสได้ 50 % พบว่าเซรุ่มจระเข้มีความสามารถยับยั้งการเจริญของไวรัสเอดส์ประเภทที่1 (HIV-1; IC50 = 0.9%), เวสต์ไนล์ไวรัส (WNV; IC50 = 4.3%) และ ไวรัสเริมประเภทที่ 1(HSV-1; IC50 = 3.4%)ได้ การศึกษาฤทธิ์ต้านไวรัสของเซรุ่มจระเข้ที่ความเข้มข้นสูงๆ นั้นทำได้ลำบากเนื่องจากเซรุ่มเองมีความเป็นพิษต่อเซลล์ที่ทำการทดลอง ผลความเข้มข้นของเซรุ่มที่ทำให้เซลล์มีชีวิตที่ทำการทดสอบลดลงจำนวนลงครึ่งหนึ่ง (TC50) จากการทดสอบเชื้อไวรัสเอดส์ประเภทที่1, เวสต์ไนล์ไวรัส และ ไวรัสเริมประเภทที่ 1 เป็น 32.8, 36.3 และ 39.1% ตามลำดับ เมื่อทดสอบเซรุ่มที่ผ่านการให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 56 องศาเซลเซียส นาน 30 นาทีพบว่าความเข้มข้นที่ออกฤทธิ์ ยับยั้ง (IC50) การเจริญของไวรัสเอดส์ประเภทที่ 1, เวสต์ไนล์ไวรัส และ ไวรัสเริมประเภทที่ 1 ลดลงคือมีค่า >50, 9.8 and 14.9% ตามลำดับ และยังพบว่าทำให้ค่า TC50 สูงขึ้นในทุกการทดสอบ เมื่อเทียบกับเซรุ่มที่ไม่ผ่านความร้อน (47.3 to >50%) ซึ่งคอมพลีเมนต์ในเซรุ่มจระเข้สามารถเสียสภาพได้เมื่อโดนความร้อน จากการทดลองพบว่าฤทธิ์ต้านไวรัสเอดส์ประเภทที่ 1 (HIV-1) ลดลงอย่างมากเมื่อผ่านความร้อนซึ่งคาดว่าคอมพลีเมนต์ในเซรุ่มนั้นทำหน้าที่ยับยั้งไวรัสเอดส์ประเภทที่ 1 นั้นเสียสภาพไป ส่วนฤทธิ์ต้าน เวสต์ไนล์ไวรัส และ ไวรัสเริมประเภทที่ 1 ไม่เปลี่ยนแปลงมากนักเมื่อผ่านความร้อน จึงคาดว่าส่วนที่ออกฤทธิ์ไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับคอมพลีเมนต์ในเซรุ่มจระเข้
Antiviral activity of serum
เซรุ่มจากจระเข้ (American Alligator) มีฤทธิ์ต้านไวรัสก่อโรคเอดส์ ไข้สมองอักเสบ และ เริม บางชนิด และพบว่าเซรุ่มที่ผ่านความร้อน 56 ◦C 30 นาที มีฤทธิ์ต้านไวรัสเอดส์ (HIV-1) ลดลง แต่ฤทธิ์ต้านเวสต์ไนล์ไวรัส (WNV) และ ไวรัสเริม (HSV-1) คงอยู่
ฤทธิ์ในการต้านไวรัสของเซรุ่มจากเลือดจระเข้สายพันธุ์อเมริกัน
บทคัดย่อ
การเก็บตัวอย่างเซรุ่มจระเข้สายพันธุ์อเมริกัน (American alligator) จากธรรมชาติมาทดสอบฤทธิ์ในการต้านไวรัส 3 ชนิดโดยใช้การทดสอบในเซลล์ และวัดค่าความเข้มข้นที่ออกฤทธิ์ (Inhibitory Concentration; IC) ซึ่งวัดจากปริมาณเซรุ่มที่สามารถยับยั้งการทำงานของไวรัสได้ 50 % พบว่าเซรุ่มจระเข้มีความสามารถยับยั้งการเจริญของไวรัสเอดส์ประเภทที่1 (HIV-1; IC50 = 0.9%), เวสต์ไนล์ไวรัส (WNV; IC50 = 4.3%) และ ไวรัสเริมประเภทที่ 1(HSV-1; IC50 = 3.4%)ได้ การศึกษาฤทธิ์ต้านไวรัสของเซรุ่มจระเข้ที่ความเข้มข้นสูงๆ นั้นทำได้ลำบากเนื่องจากเซรุ่มเองมีความเป็นพิษต่อเซลล์ที่ทำการทดลอง ผลความเข้มข้นของเซรุ่มที่ทำให้เซลล์มีชีวิตที่ทำการทดสอบลดลงจำนวนลงครึ่งหนึ่ง (TC50) จากการทดสอบเชื้อไวรัสเอดส์ประเภทที่1, เวสต์ไนล์ไวรัส และ ไวรัสเริมประเภทที่ 1 เป็น 32.8, 36.3 และ 39.1% ตามลำดับ เมื่อทดสอบเซรุ่มที่ผ่านการให้ความร้อนที่อุณหภูมิ 56 องศาเซลเซียส นาน 30 นาทีพบว่าความเข้มข้นที่ออกฤทธิ์ ยับยั้ง (IC50) การเจริญของไวรัสเอดส์ประเภทที่ 1, เวสต์ไนล์ไวรัส และ ไวรัสเริมประเภทที่ 1 ลดลงคือมีค่า >50, 9.8 and 14.9% ตามลำดับ และยังพบว่าทำให้ค่า TC50 สูงขึ้นในทุกการทดสอบ เมื่อเทียบกับเซรุ่มที่ไม่ผ่านความร้อน (47.3 to >50%) ซึ่งคอมพลีเมนต์ในเซรุ่มจระเข้สามารถเสียสภาพได้เมื่อโดนความร้อน จากการทดลองพบว่าฤทธิ์ต้านไวรัสเอดส์ประเภทที่ 1 (HIV-1) ลดลงอย่างมากเมื่อผ่านความร้อนซึ่งคาดว่าคอมพลีเมนต์ในเซรุ่มนั้นทำหน้าที่ยับยั้งไวรัสเอดส์ประเภทที่ 1 นั้นเสียสภาพไป ส่วนฤทธิ์ต้าน เวสต์ไนล์ไวรัส และ ไวรัสเริมประเภทที่ 1 ไม่เปลี่ยนแปลงมากนักเมื่อผ่านความร้อน จึงคาดว่าส่วนที่ออกฤทธิ์ไม่น่าจะเกี่ยวข้องกับคอมพลีเมนต์ในเซรุ่มจระเข้
Antiviral activity of serum
เซรุ่มจากจระเข้ (American Alligator) มีฤทธิ์ต้านไวรัสก่อโรคเอดส์ ไข้สมองอักเสบ และ เริม บางชนิด และพบว่าเซรุ่มที่ผ่านความร้อน 56 ◦C 30 นาที มีฤทธิ์ต้านไวรัสเอดส์ (HIV-1) ลดลง แต่ฤทธิ์ต้านเวสต์ไนล์ไวรัส (WNV) และ ไวรัสเริม (HSV-1) คงอยู่
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น